ยุงก้นปล่องเป็นพาหะนำโรคเกิดจากโปรโตซัว พลาสโมเดียม
-อาศัยในพื้นที่ป่าเขา สวนยางพารา และสวนผลไม้ที่ติดต่อกับพื้นที่แถบเชิงเขา
-ชอบวางไข่ในน้ำสะอาด ธารน้ำไหล หรือตกน้ำ
-ยุงชอบกัดคนในเวลาพลบค่ำตอนดึก และเช้าตรู่
-สามารถติดต่อสู่คนโดยการถูกยุงก้นปล่องตัวเมียที่มีเชื้อมาลาเรียกัด โดยยุงจะปล่อยเชื้อมาลาเรียจากต่อมน้ำลายเข้าสู่กระแสเลือดในคน
หลังจากถูกยุงก้นปล่องที่มีเชื้อกัดประมาณ 7-14 วัน ให้สังเกตุอาการดังนี้
-มีไข้เป็นเวลา
-ปวดศรีษะ
-คลื่นไส้และเบื่ออาหารได้
-ปวดเมื่อยตามตัวและกล้ามเนื้อ
-เมื่อสงสัยเป็นไข้มาลาเรียให้เข้ารับการตรวจรักษาที่โรงพยาบาล
ข้อมูล กรมควบคุมโรค